วันพฤหัสบดีที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ครั้งที่ 13 วันที่1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

1)วันนี้อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับความรู้ของเด็กจะเพิ่มพูนขึ้นเมื่อเด็กได้รับโอกาสในการทำกิจกรรม ที่เกี่ยวกับการอ่านร่วมกับผู้ใหญ่ และกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้อ่านเงียบๆตามลำพัง การอ่านกับเพื่อนเป็นคู่ เป็นกลุ่มย่อย เพื่ออภิปรายร่วมกัน ในการรับฟังและตรวจสอบความคิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะการอ่านจากสิ่งที่ครูเด็กเขียนร่วมกันหรือสิ่งที่เด็กเขียนขึ้นเองนับได้ว่าเป็นการอ่านที่ดีที่สุดของเด็ก
2)ลักษณะสำคัญและกิจกรรมทางภาษาแบบองค์รวม.
2.1 อ่าน-เขียน
-เน้นความเข้าใจเนื้อเรื่องมากกว่าการท่องจำตัวหนังสือผ่านการฟังนืทานเรื่องราวสนทนาโต้ตอบ คิดวิเคราะห์ร่วมกับครูหรือผู้ใหญ่
-การคาดคะแนโดยการเดาในขณะอ่าน เขียน และสะกดเป็นสิ่งที่ยอมรับได้ใยการเรียนรู้ภาษาธรรมชาติโดยไม่จำเป็นต้องอ่านหรือสะกดถูกต้องทุกคำ
-มีหนังสือ วัสดุสิ่งพิมพ์ต่างๆให้เด็กเป็นผู้เลือกเพื่อได้รับประสบการณ์อย่างหลากหลาย
-ครูแนะนำและสอนอ่านในกลุ่มที่ไม่ใหญ่มาก โดยใช้หนังสือเล่มใหญ่ที่เห็นชัดทั่วกัน
-ให้เด็กแบ่งกลุ่มเล็กๆ ผลัดกันอ่านด้วยการออกเลียงดัง
-ครูสอนการอ่านอย่างมีความหมายด้วยความสนุกสนานในกลุ่มย่อยสอนให้รู้จักวิธีการใช้นักษาและเปิดหนังสืออย่างถูกวิธี
-เปิดโอกาสให้เด็กพูดคุยชักถามจากประสบการณ์เดิมที่ครูสามารถวัดความสามรถการอ่านของเด็ก
-ให้เด็กแต่ละคนมีโอกาสเลือกอ่านหนังสือที่ชอบและยื่มไปอ่านที่บ้านได้
-ให้เด็กได้ขีดเขียน ขีดเขี่ย วาดภาพสิ่งที่เรียนรู้จากประสบการณ์
-ครูตรวจสอบการเขียนของเด็กแต่ละคนดยครูอาจแนะนำการเขียนอย่างถูกต้อง

2.2 ขั้นของพัฒนาการในการอ่าน
ขั้นแรก คำที่มีความหมายต่อชีวิตเด็ก ชื่อคน อาหาร สิ่งที่อยู่รอบตัว
ขั้นสอง ผู้เรียนจะผูกพันกับตัวอักษรเพิ่มขึ้น เรียกชื่อได้ หรืออ่านได้ถูกและเรียนรู้ที่อยู่ตำแหน่งของตัวอักษร
ขั้นสาม เด็กแยกแยะตัวอักษรตลอดจนระเบียบแบบแผนของตัวอักษรเริ่มอ่านจารซ้ายไปขาวซึ่งเป็นพื้นฐานทางด้านการอ่นของเด็กปฐมวัย
ขั้นสุดท้าย ระบบของตัวอักษร คือเป้าหมายปลายทางสุดท้ายของการอ่าน

3)การรับรู้และพัฒนาการด้านภาษาเขียนของเด็กวัยก่อนเรียน
-ระยะแรก เด็กเริ่มแยกแยะความแตกต่างระหว่างสัญลักษณ์ที่ใช้แทนอักษรและที่ไม่ใช้อักษร เขาจะใช้สัญลักษณ์ที่เขาคิดขึ้นมาเองแทนอักษร
-ระยะที่สอง ลักษณะสำคัญคือ การเขียนตัวอักษรที่ต่างกัน สำหรับคำพูดแต่ละคนพูด เด็กจะเริ่มแสดงความแตกต่างของข้อความ โดยการเขียนตัวอักษรที่ต่างกันดยมีลำดับสจำนวนตามที่เขาคิดไว้
-ระยะที่สาม เด็กเริ่มใช้ลักษณะการออกเสียงในขณะเขียน และการเขียนใก้ลเคียง
เขียนโดย นางสาว จุฑารัตน์ หมั่นภักดี ที่ 2:23 0 ความคิดเห็น ส่งอีเมลข้อมูลนี้ BlogThis! แบ่งปันไปที่ Twitter แบ่งปันไปที่ Facebook แบ่งปันไปที่ Google Buzz
บันทึกครั้งที่ 12 25มกราคม 2554
1)วันนี้อาจารย์และนักศึกษาร่วมกันร้องเพลงดังนี้

เพลง สวัสดี
สวัสดี สวัสดี สวัสดี ยินดีที่พบกัน
เธอและฉัน พบกันสวัสดี

เพลง ชื่อของเธอ
ชื่อของเธอฉันไม่รู้จัก ครูถามทักนักเรียนเข้าใหม่
ชื่อของเธอฉันจำไม่ได้ ชื่ออะไรขอให้บอกมา
เพลง แปรงฟัน
แปรงสิ แปรง แปรง ฟัน ฟัน หนู สวย สะอาดดี
แปรงขึ้น แปรงลง ทุกซี่ สะอาดดีเมื่อหนูแปรงฟัน

เพลง แมงมุมลายตัวนั้น

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น