วันพฤหัสบดีที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

ครั้งที่15 วันที่ 15 กุมภาพันธ์พ.ศ.2554


>>>>>>>ในคาบเรียนนี้อาจารย์ให้นักศึกษาเอางานที่ค้างมาส่งอาจารย์มาส่งและบอกว่าเทอมนี้
ถ้าส่งงานไม่ครบจะไม่ให้ติด Iแต่จะตัดเกรดตามคะแนนที่มีและให้ยืดระยะเวลาการส่งงาน
สำหรับคนที่ยังทำไม่เสร็จให้มาส่งในวันจันทร์ที่21เป็นวันสุดท้ายและนัดสอบ

-สำหรับบรรยากาศในห้องเรียนวันนี้สบายมากเพราะอาจารย์เข้ามาชี้แจงรายละเอียด

-การส่งงานและนัดสอบเสร็จก็ให้กลับบ้านได้

ครั้งที่ 14 วันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2554

>>>>>วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาวัดความรู้ดังหัวข้อต่อไปนี้
-การจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียนควรมีลักษณะอย่างไร
-มุมที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร
-มุมบ้าน
-มุมหมอ
-มุมร้านค้า
-มุมจราจร

2)ข้อคิดสำหรับการสอนภาษา
หลักและเกณฑ์ให้นักศึกษาไปคิดต่อ
1เริ่มจากตัวเด็กก่อน ไม่ว่าจะเป็นความพร้อมหรือสนใจ
2สอนแบบธรรมชาติ
3สอนอย่างมีความหมาย
4สอนจากสิ่งที่เด็กได้พบเห็น หรือมีประสบการณ์มาก่อน
5สอนให้เด็กรู้สึกสนุกและอยากเรียน
6ให้โอกาสเด็กได้ใช้ภาษา
7เด็กอยากอ่านก็ครให้อ่านเด็กแยกเขียนก็ควรให้เขียน

3)เทคนิคที่ไม่ควรนำมาใช้ในการสอนภาษา
1เน้นความจำ
2เน้นการฝึก
3ใช้การทดสอบ
4สอนแต่ละลักษณะแยกจากกัน
5การตีตราเด็ก
6ใช้แบบฝึกที่เป็นกระดาษหรือดินสอเป็นจุดประ
7ไม่ยอมรับความผิดพลาด
8สอนภาษาเฉพาะในเวลาที่กำหนด
9ช่วงการสอนภาษาจะจำกัดเวลา
10จำกัดวัสดุอุปกรณ์อาจเหลือเพียง ดิรสอ หนังสือแบบเรียน


4)เทคนิคที่ควรนำมาใช้ในการสอนภาษา
1สอนในสภาพแวดล้อมที่เป็นธรรมชาติ
2สอนสิ่งที่มีความหมายสำหรับเด็ก
3สอนจากสิ่งที่รู้ไปสู่สิ่งที่ไม่รู้
4บรูณาการเข้ากับสาขาวิชาเรียน
5ให้โอกาสเด็กทุกคนเรียนรู้ภาษา
6ใช้ความคิดและถ้อยคำของเด็ก
7ยอมรับการคาดเดาของเด็ก
8ให้โอกาสเด็กอย่างมากมาย
9จัดหาเครื่องเครื่องใช้ต่างๆ
10ทำให้การเรียนรู้น่าสนใจ และสนุกสนาน

5)อาจารย์ให้นักศึกษาฟังเพลงเกาะสมุยแล้วให้นักศึกษาเขียนส่งดังนี้
-นักศึกษาฟังเพลงเกาะสมุยแล้วรู้สึกอย่างไร
-เนื้อเพลงเกษะสมุยมีเนื้อหาว่าอย่งไร

6)ความรู้สึกในการเรียนการสอนวันนี้ ได้รับความรู้และเนื้อที่ดีมากสามาถเข้าใจได้ง่าย

ครั้งที่ 13 วันที่1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

1)วันนี้อาจารย์ได้สอนเกี่ยวกับความรู้ของเด็กจะเพิ่มพูนขึ้นเมื่อเด็กได้รับโอกาสในการทำกิจกรรม ที่เกี่ยวกับการอ่านร่วมกับผู้ใหญ่ และกิจกรรมที่จัดให้เด็กได้อ่านเงียบๆตามลำพัง การอ่านกับเพื่อนเป็นคู่ เป็นกลุ่มย่อย เพื่ออภิปรายร่วมกัน ในการรับฟังและตรวจสอบความคิดความเข้าใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะการอ่านจากสิ่งที่ครูเด็กเขียนร่วมกันหรือสิ่งที่เด็กเขียนขึ้นเองนับได้ว่าเป็นการอ่านที่ดีที่สุดของเด็ก
2)ลักษณะสำคัญและกิจกรรมทางภาษาแบบองค์รวม.
2.1 อ่าน-เขียน
-เน้นความเข้าใจเนื้อเรื่องมากกว่าการท่องจำตัวหนังสือผ่านการฟังนืทานเรื่องราวสนทนาโต้ตอบ คิดวิเคราะห์ร่วมกับครูหรือผู้ใหญ่
-การคาดคะแนโดยการเดาในขณะอ่าน เขียน และสะกดเป็นสิ่งที่ยอมรับได้ใยการเรียนรู้ภาษาธรรมชาติโดยไม่จำเป็นต้องอ่านหรือสะกดถูกต้องทุกคำ
-มีหนังสือ วัสดุสิ่งพิมพ์ต่างๆให้เด็กเป็นผู้เลือกเพื่อได้รับประสบการณ์อย่างหลากหลาย
-ครูแนะนำและสอนอ่านในกลุ่มที่ไม่ใหญ่มาก โดยใช้หนังสือเล่มใหญ่ที่เห็นชัดทั่วกัน
-ให้เด็กแบ่งกลุ่มเล็กๆ ผลัดกันอ่านด้วยการออกเลียงดัง
-ครูสอนการอ่านอย่างมีความหมายด้วยความสนุกสนานในกลุ่มย่อยสอนให้รู้จักวิธีการใช้นักษาและเปิดหนังสืออย่างถูกวิธี
-เปิดโอกาสให้เด็กพูดคุยชักถามจากประสบการณ์เดิมที่ครูสามารถวัดความสามรถการอ่านของเด็ก
-ให้เด็กแต่ละคนมีโอกาสเลือกอ่านหนังสือที่ชอบและยื่มไปอ่านที่บ้านได้
-ให้เด็กได้ขีดเขียน ขีดเขี่ย วาดภาพสิ่งที่เรียนรู้จากประสบการณ์
-ครูตรวจสอบการเขียนของเด็กแต่ละคนดยครูอาจแนะนำการเขียนอย่างถูกต้อง

2.2 ขั้นของพัฒนาการในการอ่าน
ขั้นแรก คำที่มีความหมายต่อชีวิตเด็ก ชื่อคน อาหาร สิ่งที่อยู่รอบตัว
ขั้นสอง ผู้เรียนจะผูกพันกับตัวอักษรเพิ่มขึ้น เรียกชื่อได้ หรืออ่านได้ถูกและเรียนรู้ที่อยู่ตำแหน่งของตัวอักษร
ขั้นสาม เด็กแยกแยะตัวอักษรตลอดจนระเบียบแบบแผนของตัวอักษรเริ่มอ่านจารซ้ายไปขาวซึ่งเป็นพื้นฐานทางด้านการอ่นของเด็กปฐมวัย
ขั้นสุดท้าย ระบบของตัวอักษร คือเป้าหมายปลายทางสุดท้ายของการอ่าน

3)การรับรู้และพัฒนาการด้านภาษาเขียนของเด็กวัยก่อนเรียน
-ระยะแรก เด็กเริ่มแยกแยะความแตกต่างระหว่างสัญลักษณ์ที่ใช้แทนอักษรและที่ไม่ใช้อักษร เขาจะใช้สัญลักษณ์ที่เขาคิดขึ้นมาเองแทนอักษร
-ระยะที่สอง ลักษณะสำคัญคือ การเขียนตัวอักษรที่ต่างกัน สำหรับคำพูดแต่ละคนพูด เด็กจะเริ่มแสดงความแตกต่างของข้อความ โดยการเขียนตัวอักษรที่ต่างกันดยมีลำดับสจำนวนตามที่เขาคิดไว้
-ระยะที่สาม เด็กเริ่มใช้ลักษณะการออกเสียงในขณะเขียน และการเขียนใก้ลเคียง
เขียนโดย นางสาว จุฑารัตน์ หมั่นภักดี ที่ 2:23 0 ความคิดเห็น ส่งอีเมลข้อมูลนี้ BlogThis! แบ่งปันไปที่ Twitter แบ่งปันไปที่ Facebook แบ่งปันไปที่ Google Buzz
บันทึกครั้งที่ 12 25มกราคม 2554
1)วันนี้อาจารย์และนักศึกษาร่วมกันร้องเพลงดังนี้

เพลง สวัสดี
สวัสดี สวัสดี สวัสดี ยินดีที่พบกัน
เธอและฉัน พบกันสวัสดี

เพลง ชื่อของเธอ
ชื่อของเธอฉันไม่รู้จัก ครูถามทักนักเรียนเข้าใหม่
ชื่อของเธอฉันจำไม่ได้ ชื่ออะไรขอให้บอกมา
เพลง แปรงฟัน
แปรงสิ แปรง แปรง ฟัน ฟัน หนู สวย สะอาดดี
แปรงขึ้น แปรงลง ทุกซี่ สะอาดดีเมื่อหนูแปรงฟัน

เพลง แมงมุมลายตัวนั้น

ครั้งที่ 12 วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2554

-ระยะขยาย ( The Stage of Expansion)
2-4 ปี เด็กจะเริ่มหัดพูดโดยเปล่งเสียงออกมาเป็นคำๆระยะแรกจะเป็นการพูดโดยเรียกชื่อคำนาม ออกชื่อคนที่อยู่รอบข้างสิ่งของต่างๆที่อยู่ใกล้ตัวรวมทั้งคำคุณศัพท์ที่เด็กได้ยินผู้ใหม่พูดกัน ความสามารถในการพูดของเด็กอายุ 2-4ปี มีดังนี้
อายุ 2 ปี เริ่มพูดเป็นคำและสามารถใช้คำที่เป็นคำนามได้ถึงร้อยละ 20
อายุ 3 ปี เด็กจะเริ่มพูดเป็นประโยคได้
อายุ 4 ปี เริ่มใช้คำศัพท์ต่างๆได้กว้างขวางขึ้น สามรถใช้คำขึ้นต้นหรือคำลงท้ายอย่างที่ได้ยินผู้ใหญ่ใช้

ระยะโครงสร้าง (Slrueture Stage)
อายุ 4-5 การรับรู้และการสังเกต ของเด็กวัยนี้ดีขึ้นมาก ซึ่งทำให้เด็กได้สังเกตการณ์ใช้ภาษาของบุคคลที่อยู่รอบข้างและนำมาทดลอง ใช้ประสบการณ์ที่เด็กได้รับ เช่น จากการฟังนิทาน ดูรายการวิทยุ โทรทัศน์ การเล่นกับเพื่อน หรือพี่น้อง การพูดคุยกับผู้ใหญ่ ล้วนแล้วแต่เป็นการช่วยให้เด็กเก็บข้อมูลทางภาษาใช้เพิ่มมากขึ้นเด็กจะรู้สึกเล่นสนุกกับคำ คิดสร้างคำและประโยคด้วยตนเอง โดยจดคำหรือวลี ตลอดจนเป็นประโยค

ระยะตอบสนอง
ระยะสร้างสรรค์ (Ceative Stage)
อายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไป เด็กจะพัฒนาความสามารถทางภาษาได้สูงขึ้น สามารถจดจำสัญลักษณ์ทางภาษาได้มากขึ้น สำหรับด้านการพูด สามารถใช้ถ้อยคำที่เป็นสำนวนหรือคำที่มีความหมายลึกซึ้งได้ เด็กจะพัฒนาวิเคราะห์และสร้างสรรค์ทักษะทางภาษาได้สูงขึ้น ใช้ภาษาพูดที่เป็นนามธรรมมากขึ้นด้วย การสื่อสารมนขั้นตอนนี้จะเป็นการแสดงออกซึ่งความรู้สึกนึกคิดของเด็ก

อาจารย์ได้ร้องเพลงให้ฟัง
เนื้อเพลง
ตา หู จมูก จับให้ถูก
จับ จมูก ตา หู
จับใหม่จับให้ฉันดู ๆ
จับจมูก ตา หู จับ หู ตา จมูก
.............................

ครั้งที่ 11 วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2554

วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาทุกคนวาดรูปของครอบครัวของฉันพร้อมกับบอกชื่อบุคคลในครอบครัวจากนั้นอาจารย์ก็ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มออกมาแสดงตามหัวข้อที่อาจารย์ให้นักศึกษาทำดังนี้
-คำคล้องจอง
-หนูรู้สึกยังไง
-ครอบครัวของฉัน
-ฟังและปฎิบัติ
-คำตรงกันข้าม
-กระซิบต่อกัน
-วาดภาพแล้วนำมาเล่าภาพต่อกัน
-วาดไปเล่าไป
-ร้องเพลง

ครั้งที่ 10 วันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2554

วันนี้อาจารย์นัดเรียนชดเชยบรรยากาศในห้องก็ดีมากๆ
1) วันนี้อาจารย์ ได้สอนเกี่ยวกับ โครงสร้างของภาษามีดังนี้
- ระยะแยกแยะ อายุ6เดือน-1ปี ในระยะนี้ เด็กจะเริ่มแยกแยะสิ่งที่เขาได้ยิน เช่น เสียงพุโของแม่
- ระยะเลียนแบบ อายุ 1-2ปี เสียงที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมโดดยเฉพาะเสียฃของคนที่ใกล้ชิดเป็นเสียงที่เด็กวัยนี้สนใจและเริ่มเลียนแบบ เสียงที่เด็กเปล่งออกมาจะเริ่มมีความหมายและแสดงกิริยาตอบสนองการได้ยินของผู้อื่น
- ระยะขยาย 2-4ปี เด็กจะเริ่มหัดพุดโดยการเปล่งเสียงออกมาเป็นคำโดยระยะแรกจะพูดโดยเรียกชื่อของคนที่อยู่รอบข้าง สิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวรวมทั้งคำคุณศัทพ์ที่ผู้ใหญ่พูดกัน
- ระยะโครงการ อายุ4-5ปี การรับรู้หรือการสังเกตของเด็กวัยนี้ดีขึ้นมากซึ่งทำให้เด็กได้สังเกตการใช้ภาของบุคลรอบข้างและนำมาทดลองใช้ ประสบการณ์ที่เด็กได้รับ เช่น จากการฟังนิทาน ดูรายการโทรทัศน์ การเล่นกับเพื่อน หรือพี่น้องการพูดคุยกับผู้ใหญ่ช่วยให้เด็กเก็บข้อมูลทางภาษาเพิ่มมากขึ้น
- ระยะตอบสนอง อายุ5-6ปี ได้พัฒนาทางภาษา ได้พัฒนาคำศัพท์เพิ่มรู้จักการใช้ประโยคเป็นระบบตามหลักไวยกรณ์
-ระยะสร้างสรรค์ อายุตั้งแต่6 ปีขึ้นไป เด็กจะสามารถพัฒนาทางภาษาดีมากขึ้น สารถจดจำทางภาษามากขึ้นสำหรับด้านการพูด สามารถใช้ถ้อยคำที่เป็นสำนวนความหมายลึกซึ้งได้เด้กจะพัฒนาวิเคราะหืและสร้างสรรค์ทักษทางภาษาได้สูงขึ้น
- สรุป การเรียนภาษาเป็นกระบวนการต่อเนื่องเด็กจะเรียนภาษาพูดและกฎเกณฑ์ต่างๆ จากการฟังเสียง

ครั้งที่ 9 วันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2554

>>>>วันนี้อาจารย์เริ่มการสอนด้วยการเล่นเกมง่ายๆคือ แจกกระดาษที่มี ก-ฮ ในรูปแบบของสัตว์ต่างๆแล้วเลียงลำดับ และอาจารย์ก็พูดถึงเรื่องการทำสมุดภาพ และอาจารย์ก็เล่านิทานที่มีการพับกระดาษเป็นรูปเรือและการฉีกกระดาษประกอบการเล่านิทานเมื่อจบเรื่อง ก็ครี่กระดาษออกจะได้ภาพใหม่จากที่เป็นเรือก็เปลี่ยนมาเป็นรูปเสื้อ และเล่านิทาน เรื่องกระต่ายกับงู